Friday, August 28, 2009

Pregnancy timeline (2)

Week 14

Third of the way through. The average pregnancy
lasts 266 days or 280 days from the first day of last period.


Week 15

Screening for Downs syndrome is offered about now. A simple blood test is carried out first then further tests may be offered.
On the basis of the blood test results the woman may opt for a Chorionic Villus sample or an amniocentesis which would diagnose Down's syndrome or other chromosomal abnormalities. However these diagnostic tests have a small risk of subsequent miscarriage. An alternative to blood tests is a nuchal translucency scan a new scan offered by some larger hospitals. But again an amniocentisis would be required for firm diagnosis.

Week 16

The foetus now has toe and finger nails eyebrows and eyelashes. It is also covered with downy hair.
The hair that will cover the baby until the last week or so of pregnancy - called lanugo - starts to form. This hair is very fine more like down and it probably serves as some form of insulation and protection for the skin.

Week 17

The foetus can hear noises from the outside world. By this stage the mother is visibly pregnant and the uterus is rising.

Week 18

By this stage the foetus is moving around a lot - probably enough to be felt.

Week 19

The foetus is now about 15-20cm long and weighs about 300g. Milk teeth have formed in the gums.

week 20

Half way through pregnancy now. Almost all mothers are offered a routine scan. The foetus develops a waxy coating called vernix. The scan can show the foetus in fine detail and often reveal if the baby is a boy or a girl. However not all hospitals offer to tell parents the sex of the child - and not all parents want to know.


Week 21

The mother's uterus begins to push against her diaphragm leaving less space for the lungs. Feeling slightly short of breath can be normal at this stage, but the mother should seek medical advice if she experiences these symptoms.
Another ultrasound scan may also be offered around this time. The scan can check the baby’s spine internal organs and growth are normal.

Week 22

Senses develop: taste buds have started to form on the tongue and the foetus starts to feel touch.

Week 23

The skeleton continues to develop and bones that form the skull begin to harden - but not fully.

Week 24

Antenatal checkup and scan to check the baby´s position. A baby born this early does sometimes survive.
A baby born at 24 weeks may possibly survive but it would have severe breathing difficulties as its lungs would not be strong enough to cope. It would also be very thin lightweight and susceptible to infections.


week 25

All organs are now in place and the rest of the pregnancy is for growth. Preeclampsia is a risk from here onwards.
This potentially fatal condition causes high blood pressure protein in the urine and swelling caused by fluid retention. The causes are unclear but research suggests it may be linked to an immune reaction to the foetus or the placenta. If the condition is serious women may be advised to take drugs to lower their blood pressure and in some cases an early caesarean or induction may be performed. Serious complications of pregnancy

Week 26

The foetus skin is gradually becoming more opaque than transparent.

Week 27

The foetus measures about 34cm and weighs about 800g.

Week 28

Routine checkup to test for preeclampsia. Women with Rhesus negative blood will also be tested for antibodies.
If the mother has Rh negative blood but the baby is Rh positive she can develop antibodies to her baby´s blood during labour. This is not a problem in the first birth but can affect subsequent pregnancies and result in stillbirth. Fortunately treatment is simple and effective. BBC Health: Ask the doctor - Rhesus disease

Week 29

Some women develop restless leg syndrome in their third trimester.
This is sensations such as crawling tingling or even cramps and burning inside the foot or leg - often in the evening and at night disturbing sleep and making the mother feel she needs to get up and walk around. No-one knows what causes this harmless but irritating condition.

Week 30

Braxton Hicks contractions may begin around now. They are practice contractions which dont usually hurt.
These are irregular, painless contractions which feel like a squeezing sensation near the top of the uterus. If contractions become painful or occur four times an hour or more, the woman should call a doctor as she may be in early labour.

Week 31

The foetus can see now and tell light from dark. The mother´s breasts start to produce colostrum about now
This high calorie milk is produced by the mother to feed the baby for the first few days after birth before normal milk starts.

Week 32

Another antenatal appointment. The foetus is about 42cm and weighs 2.2kg. A baby born now has a good chance of survival.

Week 33

From now the baby should become settled in a head downwards position. A midwife can help to move it if necessary.

Week 34

The mother may find it more difficult to eat full meals as the expanded uterus presses on her stomach.

Week 35

If the mother has been told she may need a planned caesarean, now is a good time to discuss it further.

Week 36

The baby´s head may engage in the pelvis any time now.

Week 37

The baby´s lungs are practically mature now and it can survive unaided. The final weeks in the womb are to put on weight.

Week 38

Babies born from this week onward are not considered early.

Week 39

Another ante-natal appointment. The mother has reached her full size and weight by now.


Week 40

In theory the baby should be born this week. The mother´s cervix prepares for the birth by softening.


Week 41

First babies are often up to a week late but if there are signs of distress to mother or child the birth will be induced.

Thank you information from BBC NEWS

Pregnancy timeline

Pregnancy timeline
Weeks 1-4
Fertilisation occurs and a ball of quickly multiplying cells embeds itself in the lining of the uterus.
In the UK pregnancy is calculated from the first day of the woman's last period so for as much as three weeks of this first month she might not be actually pregnant. When fertilisation does occur the tiny mass of cells called a blastocyst at this stage embeds itself in the lining of the womb which is already thickening to support it.

Week 5
The mass of cells is developing fast and becomes an embryo. For many women the first sign of pregnancy is a missed period.
Shopbought tests are considered largely reliable so the mother-to-be does not have to have her pregnancy confirmed by her GP. If a first test is negative a second one a few days later may prove positive as hormone levels in the urine rise.

Week 6
The embryo officially becomes a foetus. It is about the size of a baked bean and its spine and nervous system begin to form.
The foetus already has its own blood system and may be a different blood group from its mother. Blood vessels are forming in what will become the umbilical cord and tiny buds which will become limbs appear.

Week 7
The baby´s heart is beginning to develop. Morning sickness and other side effects of early pregnancy may take hold.
Around this time many women find they experience the side-effects of early pregnancy including needing to urinate more often nausea and vomiting and feeling a bit weepy and irritable. All medication including supplements need to be carefully checked as the foetus is undergoing vital development in the first 12 weeks. If the woman has not told her GP or community midwife she is pregnant yet now is a good time to do so.

Week 8
It is quite common to have a first scan at this stage if the woman has had a previous miscarriage or bleeding.
An early scan is often done through the vagina and is used to check the pregnancy is not ectopic. It should show up the baby´s heartbeat. The nervous system is also developing rapidly especially the brain. The head gets bigger and eyes form under the skin of the face. The foetus' limbs are growing and look more like arms and legs. All internal organs are developing and becoming more complex.

Week 9
Women who may be at higher risk of passing on sickle cell anaemia and thalassaemia should be offered a blood test before 10 weeks.
These conditions are rare but serious inherited blood disorders. They are more common in people of certain ethnic backgrounds including African, Caribbean and some Asian and Mediterranean communities. If the mother is found to carry the gene for either condition, the father is offered a test. If both parents are found to be carriers then they are offered the option of testing the foetus in the womb.

Week 10
A scan at 10-13 weeks is recommended to pin down the date of the pregnancy.

Week 11
The umbilical cord is fully formed providing nourishment and removing waste products. The foetus looks fully human now.

Week 12
By this week the threat of miscarriage is much reduced. Many women announce their pregnancy to friends and colleagues.
The foetus is growing in length much more quickly by now it is about eight cm long and weighs about 60 grams. The placenta is now wellformed though it's not yet doing its full job it takes over fully in week 14. The mother is likely to have her first scan this week.

Week 13
The woman uterus is becoming larger and is starting to rise out of the pelvis. The foetus can move its head quite easily.


Thursday, August 27, 2009

Child wash her own cloths

Funny video I found, I can say she want to be a woman not a girl then she can take care her own cloths or she is a good child as she want to help her mom to wash her own cloths...... lovely....

Young mom and her child

Today I have got forward funny video about young mom with naughty child.....it's funny but I think she has to find the right way to teach him.

Monday, August 24, 2009

หลังคลอดขอให้เหมือนเดิม

The important that have to think after giving birth is how we have to take care ourself back to normal - food, exercise, take care baby etc.

Many things we have to think after....I have Thai version that hope very helpful for mom.


โดย :
น.พ.อานนท์ เรืองอุตมานันท์
ระหว่าง ตั้งครรภ์ คุณแม่ส่วนมากพยายามดูแลตัวเองอย่างดีที่สุด เพื่อให้มีสุขภาพที่ดี และลูกที่ออกมาจะได้สมบูรณ์แข็งแรง แต่หลังคลอดแล้ว คุณแม่มักเทใจไปให้ลูกเสียหมด ลูกกลายเป็นทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิตไปเสียแล้ว เลยไม่ค่อยได้มีเวลาดูตัวเอง ... คุณแม่หลังคลอดต้องดูแลตัวเองให้เสมอต้นเสมอปลาย ก่อนคลอดดูแลตัวเองยังไง ก็ควรดูแลตัวเองให้ดีในช่วงหลังคลอดด้วย หากดูแลปฏิบัติตัวได้ดี ก็จะช่วยให้การฟื้นฟูสภาพของร่างกาย สามารถเป็นไปได้อย่างราบรื่น ปราศจากภาวะแทรกซ้อน นอกจากนั้นชีวิตของคุณแม่ระยะหลังคลอดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก คุณแม่ต้องปรับตัวเพื่อให้สามารถทำหน้าที่ของคุณแม่และภรรยาที่ดีได้ในเวลา เดียวกัน

อะไร..เปลี่ยนไปหลังคลอด * มดลูก เมื่อลูกน้อยคลอดออกมาแล้ว มดลูกที่เคยใหญ่เต็มท้องก็จะหดตัวเล็กลงเหลือเป็นก้อนกลมๆ แข็งๆ ขนาดเท่าลูกส้มโออยู่ที่ท้องน้อย อยู่ประมาณระดับสะดือของคุณแม่พอดี คุณแม่ที่คลอดแล้วยังเหลือไขมันหน้าท้องเยอะๆ อาจจะคลำมดลูกไม่เจอก็ได้ มดลูกที่ว่านี้ก็จะหดเล็กลงทุกๆ วัน เฉลี่ยแล้วจะเล็กลง 12 นิ้วมือต่อวัน แล้วจะเล็กลงจนคลำไม่เจอใน 2 สัปดาห์ และจะเล็กลงจนเท่าขนาดปกติก่อนที่จะตั้งครรภ์ใน 4 สัปดาห์ หลังคลอดใหม่ๆ คุณแม่จะมีอาการปวดมดลูกบ้าง เนื่องจากมดลูกจำเป็นต้องบีบตัวเกร็งไว้ เพื่อไม่ให้เลือดออกมาจากรอยแผลที่รกเคยเกาะติดอยู่ อาการปวดนี้จะคล้ายๆ ปวดประจำเดือน แต่อาจจะปวดมากกว่า และปวดอยู่นาน 2-3 วัน ท้องที่สองจะปวดมดลูกมากกว่าท้องแรก ท้องสามก็ปวดมากกว่าท้องสอง และจะปวดมากขึ้นขณะแม่ให้ลูกกินนมแม่ เนื่องจากเมื่อลูกดูดนมแม่จะทำให้สมองหลั่งฮอร์โมนชนิดหนึ่งออกมา ซึ่งมีฤทธิ์กระตุ้นให้มดลูกมีการหดรัดตัวมากขึ้น

ดังนั้นคุณแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มดลูกก็จะเข้าอู่เร็วกว่า น้ำคาวปลาหมดเร็วกว่าคุณแม่ที่ไม่ได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่
* น้ำคาวปลา ไม่รู้ใครเป็นคนตั้งชื่อนี้นะครับ ดูๆ ไปมันก็เหมือนน้ำคาวของปลาจริงๆ น้ำคาวปลาของคุณแม่หลังคลอด คือเลือดคล้ายประจำเดือนที่ไหลออกมาทางช่องคลอดในระยะหลังคลอด มันจะไหลออกมาจากตำแหน่งที่รกเคยเกาะติดอยู่ โดยน้ำคาวปลาจะเป็นสีแดงสดใน 3 วันแรก หลังจากนั้นก็จะจางลงเรื่อยๆ กลายเป็นสีชมพูเรื่อๆ แล้วจางลงใสเป็นสีฟางใน 10 วัน แล้วก็หมดหายไปในเวลาประมาณ 14-21 วัน สำหรับคุณแม่ที่ผ่าท้องคลอด น้ำคาวปลาก็จะจางลงเร็ว และหมดไปเร็วกว่าปกติ เนื่องจากคุณหมอจะช่วยเช็ดถูทำความสะอาดภายในโพรงมดลูกจนเกลี้ยงแล้วใน ระหว่างการผ่าตัด

* แผลฝีเย็บ ถ้าคุณแม่คลอดเอง ขณะที่หัวของลูกกำลังจะโผล่ออกมาภายนอก คุณหมอก็จะช่วยตัดฝีเย็บ เพื่อขยายปากช่องคลอดให้กว้างขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการฉีกขาด และป้องกันไม่ให้เนื้อเยื่อรอบๆ ปากช่องคลอดยืดขยายเกินไป หลังจากคลอดเสร็จแล้ว คุณหมอก็จะเย็บแผลฝีเย็บกลับเข้าที่เหมือนเดิม โดยมากเย็บแผลฝีเย็บด้วยไหมละลาย เพราะไม่ต้องเสียเวลามาตัดไหมอีกรอบ อีกทั้งแผลก็ยังดูดีกว่าอีกด้วย
ที่ต้องระวัง คือแผลฝีเย็บที่ว่าดันมาอยู่ใกล้กับปากทวารหนักพอดี แถวทวารหนักจะมีอุจจาระ ซึ่งมีเชื้อโรคอาศัยอยู่มากมายมหาศาล หากดูแลแผลไม่ดีเกิดเชื้อโรคหลุดรอดเข้ามาที่แผล ก็ทำให้เกิดการอักเสบได้ อักเสบที่อื่นยังทนได้ แต่ถ้ามาอักเสบตรงปากช่องคลอดพอดีนี่ มันทรมานจริงๆ นะจะบอกให้ หลังปัสสาวะหรืออุจจาระ คุณแม่ควรเช็ดทำความสะอาด โดยเช็ดจากด้านหน้าไปหลังเสมอ ห้ามเช็ดขึ้นมาทางช่องคลอดเด็ดขาด เพราะจะทำให้อุจจาระเลอะเข้าแผลได้ แล้วก็ให้เช็ดลงล่างทางเดียว ทีเดียวแล้วทิ้งกระดาษชำระไปเลย อย่าขี้เหนียวเช็ดไปเช็ดมาหลายรอบ เพราะเมื่อเช็ดผ่านไปแล้ว เลอะอุจจาระไปแล้ว หากวนกลับมาเช็ดอีกครั้งเชื้อโรคก็จะเข้าสู่แผลได้ หลังทำความสะอาดแล้วก็ควรซับให้แห้งทุกครั้ง หากมีน้ำคาวปลาออกมามาก ก็ควรเปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยๆ อย่าปล่อยให้แผลเปียกแฉะอับชื้น ซึ่งจะทำให้แผลแยก มีเชื้อโรคสะสมนำไปสู่การติดเชื้อได้ เจ็บแผลฝีเย็บจัง วันแรกหลังคลอด หากมีอาการเจ็บแผล ให้ทานยาพาราเซตตามอล 2 เม็ด จะช่วยบรรเทาปวดได้ การใช้น้ำแข็งช่วยประคบ จะช่วยบรรเทาอาการเจ็บแผลและลดการบวมได้ แต่ถ้าเลยวันแรกไปแล้ว ก็มักจะอบแผลด้วยความร้อนเพื่อช่วยลดอาการบวม

ในรายที่แผลบวมมาก เจ็บมากจนนั่งไม่สะดวก อาจใช้ห่วงยางอันเล็กๆ รองนั่งก็จะรู้สึกสบายขึ้น
อาการเจ็บฝีเย็บมักจะลดน้อยลงภายใน 7 วัน และมักจะหายสนิทภายในเวลา 3 สัปดาห์หลังคลอด * ช่องคลอดและกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน ระหว่างตั้งครรภ์ ผนังช่องคลอดจะเรียบแบน ไม่มีรอยย่นเป็นลอนเหมือนช่วงก่อนตั้งครรภ์ ระยะหลังคลอดช่องคลอดจะคืนรูป มีรอยพับย่นตามธรรมชาติภายใน 3 สัปดาห์ นอกจากนั้นหลังจากผ่านการคลอดไปแล้ว ช่องคลอดก็จะมีการยืดขยายกว้างขึ้นมากกว่าปกติ ก่อนคลอดช่องคลอดจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. แต่ในขณะที่กำลังคลอด ศีรษะของลูกจะทำให้ช่องคลอดยืดขยายกว้างออกถึง 10 ซม. นึกแล้วน่าหวาดเสียว พอคลอดออกไปแล้ว รับรองได้ว่าไม่กว้าง 10 ซม.ไปตลอดแน่ แต่จะไม่หดเล็กลงเท่าเดิม กล้ามเนื้อหูรูดจะยืดหย่อนไปบ้าง แต่คงกว้างประมาณ 3 ซม. โล่งไปหมดเลยล่ะครับ หลังคลอด คุณแม่จึงควรออกกำลังกาย เพื่อฟื้นฟูสภาพช่องคลอดให้กลับสู่สภาพเดิม โดยการ "ขมิบก้น" นั่นเอง ซึ่งควรทำวันละ 20-30 ครั้ง โดยสามารถทำได้ทันทีหลังคลอด หรือเมื่อไม่เจ็บแผลแล้ว คุณแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อาจบริหารโดยการนั่งขมิบขณะให้นมก็ได้...เพลิน ดี

ถ้าบริหารกระบังลมอย่างสม่ำเสมอ ช่องคลอดจะกลับมากระชับแข็งแรงเหมือนเดิมได้ภายใน 3 เดือนหลังคลอด หากคุณแม่คนไหนขี้เกียจ ไม่ค่อยได้บริหาร กล้ามเนื้อต่างๆ ก็ไม่เข้าที่เหมือนเดิม จะมีปัญหากระบังลมหย่อน มีปัสสาวะเล็ดเวลาไอหรือจาม บางคนก็มีอาการปวดท้องน้อยเวลายกของหนัก และที่สำคัญคุณสามีก็จะนั่งบ่นทั้งวันทั้งคืนว่ามันไม่เหมือนเดิม มันกลวงๆ โล่งๆ ยังไงชอบกล...เฮ้อ..


* หน้าท้อง การตั้งครรภ์มีผลต่อหน้าท้องสวยๆ ของผู้หญิงมากที่สุด ขนาดของมดลูกที่โตขึ้นเรื่อยๆ จะทำให้ผนังหน้าท้องยืดขยายออก ยิ่งคุณแม่บางคนไม่ค่อยได้ระวังเรื่องอาหารการกิน ทำให้มีไขมันส่วนเกินมาสะสมที่หน้าท้อง หลังคลอดหน้าท้องของคุณแม่จึงทั้งยืดทั้งย้วยน่าตกใจ การออกกำลังกายหลังคลอดอย่างน้อยแค่ซิตอัพวันละ 20-30 ครั้ง จะช่วยให้กล้ามเนื้อหน้าท้องกลับมาแข็งตึงเหมือนเดิม ทั้งยังช่วยลดไขมันหน้าท้องด้วย การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ช่วยให้คุณแม่ผอมลงเร็ว ช่วยระบายไขมันส่วนเกินออกไปได้บ้าง แต่ต้องควบคุมอาหารการกินให้ดีด้วยนะครับ ช่วงหลังคลอดควรเน้นอาหารประเภทโปรตีน ผักสด ผลไม้ นมพร่องไขมัน ให้หลีกเลี่ยงอาหารประเภทแป้ง ของหวาน ไขมัน ซึ่งจะยิ่งทำให้ไขมันไปสะสมที่หน้าท้องมากขึ้น ยิ่งอ้วนไปกันใหญ่

หน้าท้องของคุณแม่บางคนมีสีคล้ำขึ้นมากระหว่างตั้งครรภ์ เนื่องจากฮอร์โมนที่เพิ่มขึ้นในช่วงนี้ ระยะหลังคลอดผิวหนังชุดเดิมจะหลุดลอกไปเป็นขี้ไคลภายใน 3 เดือน ผิวหนังที่สร้างขึ้นมาชุดใหม่จะค่อยๆ ขาวขึ้นจนเหมือนปกติ จึงไม่ต้องกังวลเดี๋ยวก็เหมือนเดิมเอง ขัดก็ไม่ขาว ยิ่งขัดยิ่งทำให้ผิวแดงคล้ำขึ้นด้วยซ้ำไป ให้เวลากับร่างกายเราเองซักหน่อย ไม่ต้องไปเสียเงินเสียทองเข้าคอร์สขัดผิวหรอกครับ เอาเงินไปซื้อข้าวของให้ลูกดีกว่า
ความผิดปกติหลังคลอด มีหลักง่ายๆ ให้ดูว่าผิดปกติหรือไม่แค่ 4 อย่างเท่านั้นครับ คือ...

* ต้องไม่มีไข้
หากมีไข้แสดงว่าน่าจะมีการอักเสบเกิดขึ้นที่ใดที่หนึ่ง แต่หลังคลอดใหม่ๆ คุณแม่บางคนอาจมีไข้ต่ำๆ ได้ ซึ่งอาจเกิดจากการขาดน้ำหรืออ่อนเพลียมาก แต่หากไข้สูงขึ้นหรือไม่มีทีท่าว่าจะลด ก็ไปหาหมอได้เลย เพราะอาจมีการอักเสบที่กระเพาะปัสสาวะ ที่แผล หรือที่มดลูกเลยก็ได้

* ปวดท้องน้อยน้อยลง ซึ่งปวดมากใน 3-4 วันแรก ที่เรียกกันว่าคัดมดลูกหากปวดมากขึ้น ก็อาจเป็นไปได้ว่ามีการอักเสบเกิดขึ้น หรืออาจมีเศษรกที่คลอดออกมาไม่หมดค้างอยู่ * เจ็บแผลน้อยลง ปกติแผลฝีเย็บจะหายเร็วมาก แค่ 4 วันก็หายเจ็บแล้ว แต่ละวันจะเจ็บน้อยลงเรื่อยๆ อาจจะเจ็บมากขึ้นได้ หากเดินมากหรือเผลอไปนั่งแยกขามากจนระบม แต่ถ้าเจ็บมากขึ้นโดยไม่มีวี่แววว่าจะดีขึ้น อาจแปลว่าแผลกำลังจะอักเสบ...เรื่องใหญ่ละคราวนี้

* น้ำคาวปลาออกน้อยลง
น้ำคาวปลาที่ออกมาต้องน้อยลงทุกวัน แล้วก็จางหายไปใน 2 สัปดาห์ หากน้ำคาวปลาไม่ลด แถมออกเป็นเลือดแดงแจ๋มากขึ้น จนบางทีถึงกับตกเลือด มักเกิดจากมดลูกไม่หดตัว หรืออาจจะมีเศษรกติดค้างอยู่ภายในก็ได้ อย่างไรก็ดี ถ้าจะมีอะไรผิดปกติขึ้นมา มักจะเกิดใน 3 วันแรก ตอนอยู่โรงพยาบาล คุณหมอจะมาตรวจดูทุกวัน เปิดดูโน่นดูนี่เพื่อให้แน่ใจว่าทุกอย่างเป็นปกติดี แม่ที่คลอดเองมักอยู่โรงพยาบาลประมาณ 3 วัน จะได้กลับบ้านอย่างสบายใจ แต่ความผิดปกติอาจเกิดขึ้นในช่วงไหนก็ได้ หากมีอะไรผิดปกติไปจาก 4 ข้อที่ว่า ควรรีบไปพบแพทย์นะครับ ที่สำคัญคุณหมอจะนัดคุณแม่ไปตรวจหลังคลอดอีกครั้งใน 4-6 สัปดาห์ ห้ามพลาดรายการนี้เป็นอันขาด เพราะคุณหมอจะตรวจดูว่าเครื่องในภายในเข้าที่ เป็นปกติดีแล้วหรือยัง และจะคุยกันเรื่องคุมกำเนิดด้วย...เดี๋ยวจะท้องหัวปีท้ายปีเลี้ยงกันไม่ไหว อ้อ..ต้องงดมีเพศสัมพันธ์ 6 สัปดาห์หลังคลอดนะคร้าบ อย่าแกล้งทำลืม!

After give birth


After give birth many nationality has the way to take care herself, for Thai people we have the old traditional that can help you reduce weight and take care health for long time. We use hot from fire, salt, herbal and massage to take care it. We call this "Yu Fai" that now many shops open this service to take care mom, so you can find it no need to do at home.

เมื่อคุณแม่ ตั้งครรภ์ และ อุ้มท้อง เป็นเวลาประมาณ 9 เดือนนั้น มีอะไรหลายอย่างเปลี่ยนแปลงไป คุณแม่ มีน้ำหนักมากขึ้น กินอาหารมากขึ้น อาหารที่เหลือจาก ลูก ก็จะถูกเก็บสะสมไว้ในรูปไขมันเพื่อเตรียมการคลอด หน้าท้องขยายใหญ่ คุณแม่ต้องอุ้ม น้ำหนักลูก ทำให้กล้ามเนื้อของหลัง ช่องท้อง ต้น
ขาต้องเกร็งตัวตลอดเวลา ทำให้มีอาการปวดหลัง คุณแม่ บางคนก็มีภาวะท้องผูก เป็นริดสีดวง เส้นเลือด
ขอดที่ขา ท้องลาย ขาบวม เป็นต้น คนโบราณหาวิธีแก้ปัญหาเหล่านี้ด้วยการ อยู่ไฟ หรืออยู่เรือนไฟคือ
การไปนอนบนแผ่นกระดาษก่อกองไฟไว้ใกล้หรือด้านล่างเพื่อให้ มดลูก เข้าอู่ หรือแห้ง และยังเป็นการ
ป้องกันการติดเชื้อได้อีกด้วย เนื่องจากอยู่ในที่ที่อุณหภูมิสูงอยู่ตลอดเวลา นอกจากนี้ก็ยังให้คุณแม่
กินเกลือ เพราะต้องเสียเหงื่อมากจากความร้อนระยะเวลาของการอยู่ไฟนั้นประมาณ 7-15 วัน หลังคลอด
และคุณแม่ จะต้องพยายามทำขาให้ชิดกัน เพื่อให้แผล ฝีเย็บ ติดกัน วิธีการนี้คนโบราณจะเรียกว่า
การเข้าตะเกียบ ซึ่งช่วยให้คุณแม่ในยุคสมัยที่ยังนิยมการอยู่ไฟหลังคลอดมีสุขภาพสมบูรณ์ ปัจจุบัน
การ อยู่ไฟหลังคลอด แบบในอดีตนั้นไม่เป็นที่นิยมจนคนรุ่นหลังๆ แทบไม่รู้จักวิธีการฟื้นฟูสุขภาพของ
คุณแม่หลังคลอด ด้วยวิธีการนี้เลย ทั้งที่เป็นการฟื้นฟูสุขภาพ หลังคลอด ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายทั้งใน
ระยะสั้นและระยะยาว การดูแลมารดาหลังคลอด การดูแลทารกแรกเกิด และการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี
โดยเฉพาะในส่วนของการดูแล มารดาหลังคลอด นั้น ได้นำเอาวิธีการดูแลมารดาหลังคลอดของโบราณมา
ประยุกต์ใช้ เพื่อก่อให้เกิดสุขภาพดีทั้ง แม่และเด็ก โดยมีองค์ประกอบในการดูแล ดังนี้

การนวด เป็นการคลายกล้ามเนื้อของแม่ที่เกร็งตัวอุ้มท้องอยู่ตลอด 9 เดือน ทำให้ระบบไหลเวียนโลหิตดี
สามารถนำเอาของเสียที่ตกค้างตามส่วนต่างๆ ของร่างกายออกมากับเลือด นำไปฟอกที่ไตเพื่อขับถ่ายออก
ทางปัสสาวะ และเอาสารอาหารไปซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ นอกจากนั้น การนวดยังช่วยลดอาการเส้นเลือด
ขอดรีดสีดวงทวาร และอาการบวม อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมสุขภาพอีกด้วย เหมือนที่โบราณว่าเมื่อเลือดลม
ดีสุขภาพก็ดี
การทับหม้อเกลือ เป็นการนำเอาเกลือเม็ดใส่ในหม้อดินตั้งไฟจนเกลือสุกประมาณ 10-15 นาที วางลงบน
สมุนไพร หลากหลายชนิด ห่อด้วยใบพลับพลึงและผ้าขาว เกลือที่ตั้งไฟจนสุกจะสามารถเก็บความร้อน
ไว้ได้นาน 15-20 นาที เมื่อห่อเกลือด้วยใบพลับพลึงและผ้าขาวเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงนำมาประคบตามร่าง
กายความร้อนจะช่วยให้รูขุมขนเปิด ทำให้สมุนไพรซึมผ่านลงไปได้ ช่วยขับ น้ำคาวปลา ขณะเดียวกันก็ขับ
ของเสียออกมาตามรูขุมขน ทำให้คุณแม่มีผิวพรรณที่สวยงามรัดมดลูกให้เข้าอู่เร็ว
การอบสมุนไพร คือการที่คุณแม่เข้าไปในห้องหรือกระโจมที่ถูกรมด้วยไอความร้อนจากน้ำต้มสมุนไพร
ทำให้ร่างกายได้รับความร้อนทั่วตัว รูขุมขนเปิดตลอด ปอดและหลอดเลือดฝอยขยายตัว หายใจสะดวก
ขึ้นทำให้ขับของเสีย ทำให้เลือดไหลเวียนสะดวก กล้ามเนื้อผ่อนคลาย และลดไขมันที่สะสมไว้
ขณะตั้งครรภ์ ทำให้หุ่นดี การใช้ยาสมุนไพรโบราณว่า เดิมมีการนั่งถ่าน โดยใช้สมุนไพรโรยที่ถ่าน
ให้เกิดควัน แล้วนั่งคร่อม เตารม แผลฝีเย็บ ให้แห้งและให้ช่องคลอดกระชับ การใช้ยาสมุนไพรบำรุงธาตุ
ขับน้ำคาวปลาและบำรุงนมในข้อนี้แพทย์แผนปัจจุบันไม่เห็นด้วย เพราะเชื่อว่ายาที่คุณแม่ทานอาจ
มีผลต่อเด็ก จึงทำให้ขั้นตอนนี้ไม่เป็นที่นิยมนำมาใช้ในการดูแลคุณแม่หลังคลอดในปัจจุบัน

Weight while pregnanancy


For mom who has balance weight while pregnancy is very prefect because after giving birth you will be back to normal easy than mom who gain a lot of weight during pregnant. For pregnant lady who has not much weight worry about nutrient that baby get. So, you have to take care yourself by eating health food for baby not for mom.

สำหรับ คุณแม่ที่มีรูปร่างปกติสมส่วน คือไม่มากเกินไปไม่น้อยเกินไปนั้น ถือว่าโชคดีมาก ๆ เพราะนอกจากร่างกายจะเข้าที่เมื่อคลอดลูกไปแล้วยังทำให้ลูกน้อยในครรภ์แข็ง แรงได้ด้วย แถมการคลอดก็ไม่ยากเท่าไหร่



ใน ขณะที่คุณแม่ที่มีรูปร่างผอมมากเกินไป หรืออ้วนมากเกินไปอาจจะลำบากกว่า เพราะหากน้ำหนักมากเกินไปก็อาจจะคลอดลำบาก ในขณะที่คุณแม่ที่ผอมเกินไปก็อาจจะกังวลว่าลูกตัวน้อยจะได้รับสารอาหารไม่ เพียงพอ ไม่ต้องกังวลไปค่ะ วันนี้เรามีทริคดี ๆ มาแนะนำกันค่ะ

สำหรับคุณแม่ที่ผอมเกินไปนั้น แนะนำให้ทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ และควรทานมากกว่าปกติ

เช่นอาจจะทานเพิ่มเป็น 4 มื้อ หรือเพิ่มปริมาณอาหารมากขึ้นกว่าเดิม หากกลัวว่าจะทานไม่หมด ก็แนะนำให้ค่อย ๆ เพิ่มนะคะ ไม่ใช่เพิ่มรวดเดียว ประเดี๋ยวจะเกิดอาการไม่อยากอาหารขึ้นมาได้ นอกจากนี้ต้องพักผ่อนให้เพียงพอด้วย ถ้ารู้ตัวว่าเป็นคนอ้วนยาก ให้งดการทำงานหนัก ๆ หรือครุ่นคิดเรื่องงานในระหว่างที่ตั้งครรภ์ เพราะอาจจะส่งผลให้คุณไม่อยากอาหารได้เช่นกัน วิธีเพิ่มน้ำหนักที่ดีคือการหมั่นทานผัก และช็อกโกแลตเยอะ ๆ ค่ะ

สำหรับคุณแม่ที่มีน้ำหนักมากเกินไป ซึ่งดูเหมือนว่าจะมีปัญหามากกว่าคุณแม่ที่ผอมเกินไป

เพราะ อาจจะมีภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ เช่น ความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง และอาจจะเจอปัญหาคลอดยากด้วย เราขอแนะนำคุณแม่ที่มีน้ำหนักเกินว่า ให้ทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ โดยเน้นอาหารที่ให้พลังงานเยอะ ๆ หน่อย นอกจากนี้ก็อย่าลืมทานผักผลไม้เป็นประจำ และที่ขาดไม่ได้เลยก็คือ หมั่นออกกำลังเสมอ ๆ ซึ่งแม้ว่าคุณจะตั้งครรภ์อยู่ แต่เดี๋ยวนี้มีการคิดค้นวิธีการออกกำลังของคุณแม่ตั้งครรภ์แล้ว หรือไม่อย่างนั้นเรา แนะนำให้เข้าคอร์สออกกำลังในน้ำสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์ค่ะ เพราะคุณจะได้ไม่อึดอัดมาก เนื่องจากมีน้ำช่วยรองรับน้ำหนัก แถมยังออกกำลังกายได้ทุกส่วนด้วย



ตาม ปกติแล้วเมื่อผู้หญิงเราตั้งครรภ์ จะมีน้ำหนักเพิ่มมากกว่าเดิมประมาณ 12 - 16 กิโลกรัม หากเกินกว่านี้ถือว่าเริ่มมากเกินไปหน่อยแล้ว แต่โดยมากแม้ว่าน้ำหนักจะเกินหากคุณแม่คลอดลูกแล้ว น้ำหนักจะลดลงเอง


ยิ่ง เป็นคุณแม่ที่เลี้ยงลูกเอง ทำงานบ้านเองด้วย รูปร่างก็จะกลับมาเป็นปกติโดยอัตโนมัติ เพราะมีการเคลื่อนไหวร่างกายอยู่ตลอดเวลานั่นเองค่ะ ไม่ต้องกังวลไป

Friday, August 21, 2009

Thai Adsense

During I try to search information about Mom, I found this website that help me to know more about adsense. Actually, I don't know much more about this as I am don't know much more about computer program I just an user but this website give me a principle information of adsense and I quite interested in this and will learn more how to do that. Hope I will success with it :)

http://thaiadsense-online.blogspot.com/

Thursday, August 20, 2009

Pregnancy

During I am pregnant I always search website for my information and this is the one that I thought a good website which can give me more information I want to know.... http://www.pregnancy.org/pregnancy ......

Tuesday, August 18, 2009


This month is August which I am getting 8 months. Time flies too fast. In next month I will be 9 months which I can see his face. I pray every time that I can hope he is healthy, complete all organs and normal as same as normal baby. As last time I have an operation, so this time doctor has to do it again. That means I can't wait until I feel pain, so I have to prepare for childbirth in advance. I have found a good website this http://www.birthbabyandmom.com/

Friday, August 14, 2009

Name of my son


Now I am 7 pregnant months and only 2 months that I can see his face, the result from ultra sound found that I got a boy. I am happy as I have a girl now. For now I try to search the name for him. I like the name “Haris” the meaning of this is Vigilant. Watchman.

Numerology:
Expression Number 1: People with this name tend to initiate events, to be leaders rather than followers, with powerful personalities. They tend to be focused on specific goals, experience a wealth of creative new ideas, and have the ability to implement these ideas with efficiency and determination. They tend to be courageous and sometimes aggressive. As unique, creative individuals, they tend to resent authority, and are sometimes stubborn, proud, and impatient.

Tuesday, August 4, 2009

Is it safe? U.S. vaccine experts want to build trust


As I am a pregnant lady who has to take care myself carefully, I hope the vaccine can help people from the H1N1 Swine flu ... but now I am not sure....read news below.

By Maggie Fox, Health and Science Editor - Analysis

WASHINGTON (Reuters) - When advisers to the U.S. Food and Drug Administration met to discuss a new vaccine against H1N1 swine flu last week, some of the biggest critics of vaccination were not only in the room, but at the table.

Likewise for a meeting on Wednesday of advisers who decide who will be first in line to get the vaccine, which drug companies are racing to make, test and distribute all within the space of a few weeks.

Registered nurse Vicky Debold, on the board of the National Vaccine Information Center, which questions vaccine safety, is also a member of the FDA's Vaccine and Related Biological Advisory Committee. The group's founder, Barbara Loe Fisher, asked extensive questions at the meeting.

Lyn Redwood, president of SafeMinds, a group that advocates about potential links between mercury and neurological disorders, asked questions at a meeting on Wednesday of vaccine advisers to the Centers for Disease Control and Prevention.

The U.S. federal government is more ready than it has ever been for questions, criticisms and fear of vaccines -- a state of preparedness more than 30 years in the making.

"We know that there are some people who are reluctant to vaccinate and they have heard information that concerns them," Dr. Anne Schuchat of the U.S. Centers for Disease Control and Prevention told reporters late on Wednesday.

The concerns:

*Will a vaccine against a swine-like virus cause more adverse reactions than a seasonal flu vaccine?

*Will special additives called adjuvants cause reactions?

*Will the vaccines contain thimerosal, a mercury-based preservative that critics say might cause problems?

*Is it dangerous to vaccinate against both seasonal flu and the new H1N1 flu at the same time?

QUICK SPREAD

H1N1 swine flu has swept around the world in weeks, infecting millions and killing more than 800 by official counts. While only a "moderate" pandemic by World Health Organization standards, it could worsen as temperatures cool in the Northern Hemisphere, making conditions better for viruses.

Five companies are making H1N1 vaccine for the U.S. market -- AstraZeneca's MedImmune unit, Australia's CSL Ltd, GlaxoSmithKline Plc, Novartis AG and Sanofi-Aventis SA.

CSL has started trials of its vaccine in people and the U.S. National Institutes of Health starts trials next month. They will compare vaccines with and without adjuvants -- ingredients that boost the immune system response to a vaccine.

Adjuvants are used in flu vaccines in Europe but not the United States and although it would be possible to get a U.S. license under Emergency Use Authorization, officials have chosen to use vaccines without it for now.

Companies such as Glaxo say they will be ready to start vaccinating people in Europe just as the first data from those trials start emerging at the end of September. Some have questioned this speed.

The FDA's Dr. Hector Izurieta said the agency had set up an exceptionally extensive network for what is known as post-marketing surveillance.

"If something happens after vaccination, the vaccine will be accused," Izurieta told last week's meeting. "There will be many, many reports of things that could be, or not, associated with vaccination."

Vaccine regulators and public health experts are painfully aware of the last swine flu vaccination campaign. In 1976, the U.S. government rushed out a mass immunization against a swine flu virus that never spread off one military base.

Several hundred cases of a rare, paralyzing neurological disease called Guillain-Barre syndrome were reported afterward and although no clear link has ever been found to the vaccine, the incident made many people mistrustful of immunizations.

More recently, fears center on thimerosal, taken out of most vaccines after activists claimed it could cause autism -- a link discredited by many scientific studies but one that some vocal activists say is still valid.

Instead of fighting the perception, Schuchat said the CDC will roll with it. "There will be thimerosal-free formulations available for those people who are interested in that sort of preparation," she said.